navigation เมนูนั้นยังดูหน้าตาเหมือนรายการมากกว่าเมนู
ดังนั้นเราจะใส่สไตล์เพิ่มเข้าไป
เราจะเอาจุด(bullet)ที่ใช้แสดงรายการออกไปก่อน
และย้ายรายการแต่ละรายการออกไปทางด้านซ้ายในตำแหน่งเดิมที่ใช้แสดงจุดในแต่ละรายการ
นอกจากนั้นเราก็จะใส่พื้นหลังสีขาวและสี่เหลี่ยมสีดำให้แต่ละรายการ
(ทำไมน่ะหรือ ไม่มีเหตุผลเฉพาะหรอกเพียงแต่ว่าเราสามารถทำได้)
นอกจากนี้เรายังไม่ได้ระบุวว่าสีที่ใช้ลิงค์เป็นสีอะไร ดังนั้นให้เพิ่มลงไปด้วยสีฟ้าใช้สำหรับลิงค์ที่ผู้อ่านยังมองไม่เห็นส่วนสีม่วงใช้สำหรับลิงค์ ที่ผู้อ่านคลิกเข้าไปดูแล้ว
นอกจากนี้เรายังไม่ได้ระบุวว่าสีที่ใช้ลิงค์เป็นสีอะไร ดังนั้นให้เพิ่มลงไปด้วยสีฟ้าใช้สำหรับลิงค์ที่ผู้อ่านยังมองไม่เห็นส่วนสีม่วงใช้สำหรับลิงค์ ที่ผู้อ่านคลิกเข้าไปดูแล้ว
<!DOCTYPE html PUBLIC "-//W3C//DTD HTML 4.01//EN"> <html> <head> <title>My first styled page</title> <style type="text/css"> body { padding-left: 11em; font-family: Georgia, "Times New Roman", Times, serif; color: purple; background-color: #d8da3d } ul.navbar { list-style-type: none; padding: 0; margin: 0; position: absolute; top: 2em; left: 1em; width: 9em } h1 { font-family: Helvetica, Geneva, Arial, SunSans-Regular, sans-serif } ul.navbar li { background: white; margin: 0.5em 0; padding: 0.3em; border-right: 1em solid black } ul.navbar a { text-decoration: none } a:link { color: blue } a:visited { color: purple } </style> </head> <body> [etc.]
โดยทั่วไปแล้ว บราวเซอร์จะแสดงลิงค์ด้วยการขีดเส้นใต้และใส่สี
โดยปกติสีที่ใช้จะเหมือนกับสีที่ระบุไว้ในที่นี้ คือ
สีฟ้าไว้สำหรับลิงค์ไปยังหน้าที่คุณยังไม่ได้เข้าไปดู
(หรือที่เคยเข้าไปดูเมื่อนานมาแล้ว)
สีม่วงไว้ใช้สำหรับหน้าที่เข้าไปดูมาแล้ว
ใน HTML การสร้างลิงค์ทำได้โดยใช้ element <a> ดังนั้นเวลาที่เรระบุสีเราจะต้องใส่สไตล์ให้กับ “a” เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างลิงค์ที่เยี่ยม ชมแล้วกับลิงค์ที่ยังไม่ได้เยี่ยมชม CSS ได้กำหนดให้มี “pseudo-classes” (:link และ :visited) ที่เรียกว่า “pseudo-classes” เพื่อแยกแยะความแตกต่างระหว่าง classattributes, ที่แสดงบน HTML โดยตรงตัวอย่างเช่น
ใน HTML การสร้างลิงค์ทำได้โดยใช้ element <a> ดังนั้นเวลาที่เรระบุสีเราจะต้องใส่สไตล์ให้กับ “a” เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างลิงค์ที่เยี่ยม ชมแล้วกับลิงค์ที่ยังไม่ได้เยี่ยมชม CSS ได้กำหนดให้มี “pseudo-classes” (:link และ :visited) ที่เรียกว่า “pseudo-classes” เพื่อแยกแยะความแตกต่างระหว่าง classattributes, ที่แสดงบน HTML โดยตรงตัวอย่างเช่น
class="navbar"
ที่แสดงไว้ในตัวอย่างข้างต้น
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น